โบ ท็ อก ซ์ ลด น่อง ราคา

หลักการ พื้นฐาน การ ออกแบบ 4 ด้าน

ว่ากันว่าถ้าคุณอยากแหกกฎ คุณจำเป็นต้องเรียนรู้กฎให้ถ่องแท้เสียก่อน แล้วคุณจะรู้ได้ว่ากฎนั้นๆ สามารถแหก แหวก และทำลายมันได้ตรงไหนบ้าง และนี่คือหลักการพื้นฐานทั้ง 20 ข้อของการออกแบบกราฟิก ( Graphic Design) ที่จำเป็นต้องรู้และทดไว้ในใจ เผื่อว่าวันไหนอยากจะแหกกฎขึ้นมาจะได้แหกได้อย่างมีหลักการ ซึ่งการันตีได้ว่าคุณสามารถอธิบายปกป้องงานดีไซน์ของคุณได้อย่างเต็มปาก เพราะคุณมีวิธีคิดเบื้องหลังการออกแบบรองรับอยู่แล้วนี่นา อย่าเสียเวลาเลย ตามไปดูเลยดีกว่าว่ามีหลักการอะไรบ้าง เพราะมันมีตั้ง 20 หลักการแหนะ! 1.

4.หลักการออกแบบ - การออกแบบงานศิลปะ

ลักษณะของทิศทางที่เกิดจากส่วนประกอบพื้นฐานของศิลปะที่มีมุมเหลี่ยม ความกว้าง และ ความยาว 2. ลักษณะของทิศทางที่เกิดจากระนาบ 3. ลักษณะของทิศทางที่เกิดจากการใช้เทคนิคในการทำงาน เช่น ฝีแปรง (Brush Stroke) 4. ลักษณะของทิศทางที่เกิดจากลักษณะของการจัดองค์ประกอบของภาพที่เป็นโครง 5.

ตรงกับจุดมุ่งหมายของเนื้อหาวิชา 2. การออกแบบโดยการคำนึงถึงประโยชน์ที่จะนำไปใช้งานโดยมุ่งที่จะได้รับจากการใช้วัสดุกราฟิกเพื่อการสื่อความหมายสำคัญ 3. การออกแบบวัสดุกราฟิกควรมีลักษณะง่าย ๆ ส่วนประกอบต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องแสดงรายละเอียดมากเกินไป และขบวนการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน 4. คำนึงถึงความประหยัดทั้งเงินงบประมาณและเวลาในการจัดทำ 5. มีสัดส่วนดี องค์ประกอบทั้งหมดกลมกลืน เช่น รูปแบบ พื้นผิว เส้น สี เป็นต้น 6.

พระ ปิด ตา หลวง พ่อ กล่อม วัด ป่า กะ พี้

TEXTURE นี่คือการเล่นกับพื้นผิวที่เรามองเห็นได้ด้วยตาโดยที่ยังไม่ได้สัมผัสด้วยมือหรือส่วนใดของร่างกาย เพราะบางครั้งมันอาจจะไปอยู่บนกระดาษอาร์ตแบบมันบนโปสเตอร์ธรรมดาๆ แต่ลักษณะเฉพาะของพื้นผิว ( TEXTURE) แต่ละแบบนี่แหละ ที่สร้างความรู้สึกต่อสิ่งนั้นให้แตกต่างกันออกไป ภาพเหล็ก ปูน ไม้ แก้ว ฟองน้ำ ล้วนแต่มีลักษณะเฉพาะของตัวเอง ที่นักออกแบบหยิบจับมาใช้สร้างอารมณ์ความรู้สึกในงานได้ 9. BALANCE ความสมดุลเป็นหนึ่งในหลักการที่จำเป็นมากๆ เพราะงานออกแบบที่ดีนั้น ต้องน่าเชื่อถือแม้มันจะเป็นเพียงภาพกราฟิกก็ตาม เพราะสมดุลนี้เองที่เป็นหลักความจริงของธรรมชาติ อะไรก็ตามที่ดูเสียสมดุลจึงมักจะถูกมองแบบไม่น่าไว้ใจตั้งแต่แรก หลักการง่ายของความสมดุลคือการจัดสรรตำแหน่งขององค์ประกอบต่างๆ ให้อยู่ในตำแหน่งที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน แม้จะมีความต่างกันแต่ด้วยการจัดวางจะช่วยให้ภาพรวมนั้นดูสมดุลได้เอง 10. HIERARCHY จะว่าคล้ายกับการจัดสมดุลก็คล้ายได้เช่นกัน แต่ HIERARCHY จะแตกต่างตรงที่เป็นการ "เลือก" และ "จัดวาง" อย่างน่าสนใจด้วยการลำดับเนื้อหาไปด้วยเลย เช่นข้อความไหนที่อยากเน้น เพื่อให้ไปอ่านหรือดูภาพไหนต่อไป แล้วค่อยจบท้ายด้วยอีกข้อความหนึ่งเป็นต้นฯ โดยอาจใช้เพียงแค่การปรับเปลี่ยนขนาด และวิธีการมองภาพก็ได้ 11.

DIRECTION DIRECTION คือการออกแบบที่ใช้ทิศทางตามธรรมชาติ เช่น ลักษณะการอ่านหนังสือ การไล่สายตาจากบนลงล่าง หรือพฤติกรรมที่มนุษย์มักทำอย่างเป็นอัตโนมัติมาใช้ในการสร้างรูปแบบประสบการณ์นั้นให้ออกมาเป็นภาพนั่นเอง เพื่อให้การมองเห็นเป็นไปอย่างสอดคล้อง ลื่นไหลและน่าสนใจ 16. RULES นี่คือเรื่องของการหาทางทำลาย กฏการออกแบบต่างๆ ที่รวบรวมไว้จากในนี้ หรือตำราไหนๆ ก็ตาม มันคือหลักการที่ตั้งใจจะเล่นกับกฤเกณฑ์เหล่านั้น หรือเรียกง่ายๆ ว่าท้ายทายเป็นขบถเลยทีเดียว เช่นจากตัวอย่างเราจะเห็นการเล่นกับ Tarcking ของ Typography ที่ออกจะกวนตีนหน่อ เพื่อสอดรับกับเนื้อหาที่กวนๆ อยู่แล้วนั่นเอง 17. MOVEMENT ใครบอกว่าภาพนิ่งสร้างความเคลื่อไหวไม่ได้ นั้นไม่จริงเลย เพราะจริงๆ แล้วเราสามารถทำให้ภาพนั้นดูแรงและมีความฉวัดเฉวียนจนถึงการพุ่งไปทางนั้นทางนี้ได้ด้วยการใช้กลุ่มของเส้น หรือการทำเบลอเฉพาะส่วน หรือเบลอเป็นเส้นเป็นทิศทางต่างๆ ได้ 18. DEPTH ว่าด้วยเรื่องการใช้ "แสง" และ "เงา" สร้างมิติให้ภาพกราฟิก นั่นแหละคือสิ่งที่เนียกว่า Depth พูดง่ายกว่านั้นมันก็คือการทำภาพชัดติ้นชัดลึกนั่นเอง แต่แทนที่จะเป็นภาพถ่ายมาเป็นการแสดงออกบนกราฟิกแทนนี่เอง คุณสามารถใช้ความทับซ้อนกันขององค์ประกอบ หรือรูปร่างแบบสามมิติเช่นงานสไตล์ Isometric มาสร้างมิติได้ตามต้องการ 19.

ขนาดต่างๆ (Scale) เล่นกับขนาดของรูปทรงหรือแม้แต่ตัวอักษรจะช่วยเพิ่มความน่าสนใจให้กับงานได้ 8. องค์ประกอบหลักและรอง (Dominance and Emphasis) สร้างองค์ประกอบหลักที่เป็นจุดเด่นของงาน และสร้างองค์ประกอบรองเพื่อส่งเสริมให้งานของเราดูมี Contrast และมันจะยิ่งช่วยให้องค์ประกอบหลักของเราเด่นขึ้นมา 9. สมดุล (ฺBalance) สร้างสมดุลให้กับงานเป็นสิ่งสำคัญ ลองสังเกตุและมองไปรอบๆ งานของคุณให้ดีๆ เมื่อไหร่ที่รู้สึกว่ามันเอียงหรือดึงดูดสายตาไปทางมุมไหนมากเกินไป นั่นแสดงว่าสมดุลในงานของคุณไม่ดี ลองแก้ไขโดยการวางองค์ประกอบอะไรสักอย่างเข้าไปอีกด้าน 10. ต้องสอดคล้องกัน (ฺHarmony) รายละเอียดองค์ประกอบในงานเราควรจะมีความสอดคล้องไปด้วยกันได้ไม่ขัดกัน จะทำให้ งานออกแบบ ของเราดูสมบูรณ์ที่สุด เรียบเรียงโดยทีมงาน Grappik ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก infographic 10 basic elements of design

หลักการออกแบบ มีดังนี้ 1. เอกภพ ( unity) 2. ความสมดุลย์ ( balance) 3. การเน้นให้เกิดจุดเด่น ( Emphasis) 4. เส้นแย้ง ( opposition) 5. ความกลมกลืน ( Harmony) 6. จังหวะ (rhythm) 7. ความลึก / ระยะ ( Perspective) 8. ความขัดแย้ง (Contrast) 9. การซ้ำ ( Repetition) 1.

  1. 139 Ntst Thailand Co , Ltd Jobs, Employment in นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด ระยอง July 2021| Indeed.com
  2. สมัคร งาน บริษัท แล ค ตา ซอย สกลนคร
  3. พระแก้วมรกต กับแนวคิดจักรพรรดิราช สมัย รัชกาลที่ 4
  4. How to การจัดแจกันดอกไม้ จัดยังไงให้สวยแบบ step by step
  5. ประโยค if clause type 0.0
  6. Casio g shock dw 5600bb 1 ราคา plus
  7. คู่มือ ด รีม ซุปเปอร์ คั พ
  8. The neon demon ซับ ไทย series
  9. ขาย the city พระราม 5 ราชพฤกษ์ 2.5
  10. รีวิวน้ำจิ้มสุกี้ น้ำจิ้มชาบู ยี่ห้อไหนดี อร่อยถูกปากโดนใจทั้งบ้าน
  11. ART EDUCATION - หลักการออกแบบเบื้องต้น
  12. Hino 300 4 ล้อ ราคา 2

ความลึก / ระยะ ( Perspective) ให้ภาพดูสมจริง คือ ภาพวัตถุใดอยู่ใกลัจะใหญ่ ถ้าอยุ่ไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงตามลำดับ จนสุดสายตา ซึ่งมีมุมมองหลักๆ อยู่ 3 ลักษณะ คือ วัตถุอยู่สูงกว่าระดับตาวัตถุอยู่ในระดับสายตา และวัตถุอยู่ตต่ำกว่าระดับสายตา 8. ความขัดแย้ง ( contrast) ความขัดแย้ง หมายถึง ความไม่ลงรอยกันเข้ากันไม่ได้ ไม่ประสานสัมพันธ์กัน ขององค์ประกอบศืลป์ ทำให้ขาดความกลมกลืน ในเรื่องรูปทรง สี ขนาดลักษณะผิวที่แตกต่างกัน ดังนั้นนักออกแบบที่ดี จะต้องลดความขัดแย้งดังกล่าว ให้เป็นความกลมกลืน จึงจะทำให้งานออกแบบมีคุณค่า ลักษณะของความขัดแย้ง เช่น ความขัดแย้งของรูปร่าง ความขัดแย้งของขนาดต่างๆ เป็นต้น 9.

ความกลมกลืน ( Harmony) การจัดองค์ประกอบที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายๆ กันมาจัดภาพทำให้เกิดความนุ่มนวลกลมกลืนกันมี 3 แบบดังนี้ A. กลมกลืนในด้านประโยชน์ใช้สอย คือ ทำให้เป็นชุดเดียวกัน B. กลมกลืนในความหมาย เช่น การออกแบบเครื่องหมายการค้า และ โลโก้ C. กลมกลืนในองค์ประกอบได้แก่ - กลมกลืนด้วยเส้น – ทิศทาง - กลมกลืนด้วยรูปทรง – รูปร่าง - กลมกลืนด้วยวัสดุ – พื้นผิว - กลมกลืนด้วยสี มักใช้โทนสีที่ใกล้กัน - กลมกลืนด้วยขนาด – สัดส่วน - กลมกลืนด้วยน้ำหนัก 6.

ความสมดุล ( Balance) คือ ความเท่ากันหรือเท่าเทียมกันทั้งสองข้าง แบ่งออกเป็น - สมดุลแบบทั้ง 2 ข้างเหมือนกัน (Symmetrical balance) ทั้งซ้ายขวาเหมือนกัน การสมดุลแบบนี้จะทำให้ดูมั่นคงหนักแน่น ยุติธรรม เช่น งานราชการ ใบวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร การถ่ายรูปติดบัตรเป็นต้น - สมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนกัน (Asymmetrical balance) ด้านซ้ายและขวาจะ ไม่เหมือนกัน แต่มองดูแล้วเท่ากันด้วยน้ำหนักทางสายตา เช่น สมดุลด้วยน้ำหนัก และขนาดของรูปทรง ด้วยจุดสนใจ ด้วยจำนวนด้วยความแตกต่างของรายละเอียด ด้วยค่าความเข้ม – จางของสี เป็นต้น 3. การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis) ในการออกแบบจะประกอบด้วยจุดสำคัญหรือส่วนประธานในภาพ จุดรองลงมาหรือส่วนรองประธาน ส่วนประกอบหรือพวกรายละเอียดปลีกย่อย ต่างๆ หลักและวิธีในการใช้การเน้น - เน้นด้วยการใช้หลักเรื่อง Contrast - เน้นด้วยการประดับ - เน้นด้วยการจัดกลุ่มในส่วนที่ต้องการเน้น - เน้นด้วยการใช้สี - เน้นด้วยขนาด - เน้นด้วยการทำจุดรวมสายตา 4. เส้นแย้ง ( Opposition) เป็นการจัดองค์ประกอบโดยการนำเอาเส้นในลักษณะแนวนอนและแนวตั้งฉากมาประกอบกันให้เป็นเนื้อหาที่ต้องการ มีลักษณะของภาพแบบเส้นแย้งในธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา อยู่มากมาย นับว่าเป็นรากฐานของการจัดองค์ประกอบ การจัดองค์ประกอบให้เกิดความแตกต่างเพื่อดึงดูดความสนใจหรือให้เกิดความสนุก ตื่นเต้น น่าสนใจ ลดความเรียบ น่าเบื่อ ให้ความรู้สึกฝืนใจ ขัดใจ แต่ชวนมอง 5.

การ-ตด-ตง-ชกโครก-cotto